THE BEST SIDE OF ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า

The best Side of ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า

The best Side of ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า

Blog Article

ส่วนการผ่าฟันคุดจะใช้ในกรณีที่ฟันคุดไม่สามารถขึ้นมาในช่องปากได้ ทันตแพทย์จะใช้เครื่องมือผ่าตัดเปิดเหงือก กรอกระดูกหรือแบ่งฟันเป็นชิ้นเล็กๆ เพื่อนำฟันคุดออก และโดยทั่วไปแล้วการผ่าฟันคุดจะต้องมีการเย็บแผล

ก่อนจัดฟันต้องทำการเตรียมสภาพช่องปากก่อน ได้แก่ ขูดหินปูน อุดฟัน ถอนฟัน รักษาโรคเหงือก รักษารากฟัน รวมไปถึงการผ่าฟันที่ไม่จำเป็นด้วยนั่นเอง เพื่อให้การจัดฟันเป็นไปอย่างราบรื่น มีประสิทธิภาพและได้ผลลัพธ์ที่ดีที่สุดนั่นเองค่า หลังจากสุขภาพช่องปากดีแล้ว ก็เริ่มจัดฟันติดเครื่องมือได้เลย

มีฟันคุดไม่เอาออกได้มั๊ย? มีฟันคุด ในช่องปาก แต่ไม่ได้รับการรักษาอย่างเหมาะสม เช่น ไม่ได้ไปผ่าฟันคุด ปล่อยปละละเลย หรือ ทิ้งเอาไว้ภายในช่องปาก อาจจะส่งผลเสียได้ค่ะ หลายๆคนอาจจะมีคำถามในใจว่า ถ้าเรา มีฟันคุด แล้วไม่ผ่าหรือ ถอนฟันคุดออกได้มั๊ย?

ข้อปฏิบัติ หลังการติดเครื่องมือจัดฟัน

ทำไมถอนฟันคุดราคาถูกกว่าผ่าฟันคุด?

ฟันคุดใต้เหงือกที่ตั้งตรง ซึ่งแม้ยังไม่ขึ้นแต่มีโอกาสขึ้นได้ตามปกติในเวลาต่อมา อาจใช้วิธีแก้ไขปัญหาตามอาการ เช่น ล้างทำความสะอาดเศษอาหารที่กักอยู่ใต้เหงือก เพื่อลดการอักเสบ หรือกรอมนปุ่มยอดฟันคู่สบที่กัดชนเหงือก แล้วคอยติดตามดูอาการจนฟันซี่สุดท้ายนี้ขึ้นได้ตามปกติ

ผ่าฟันคุดหรือถอนฟันคุด คืออะไร มีสาเหตุและวิธีรักษาอย่างไร?

อาการข้อเข่าเสื่อม ที่ไม่ได้เป็นแค่ในคนสูงอายุ ข้อมูลสุขภาพ, บทความแนะนำ

ทันตแพทย์ประจำบ้าน สาขาศัลยศาสตร์ช่องปาก และ แม็กซิลโลเฟเชียล ม.จุฬาลงกรณ์

ทำนัด เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ ตั้งค่า

หน้าแรก บริการทันตกรรม โปรโมชั่น บทความเกี่ยวกับฟัน เกี่ยวกับเรา ติดต่อเรา

ต้องผ่าฟันคุดออกก่อน จัดฟันทุกคนหรือไม่ โดยส่วนใหญ่ต้องผ่าออก ยกเว้นในกรณี แพทย์จัดฟันมีการวางแผนการรักษาที่จะดึงฟันคุดมาใช้งานแทนฟันกรามที่ถูกถอนออกไป

ในบางรายที่ถึงแม้ฟันกรามซี่ในสุดจะสามารถขึ้นมาได้อย่างปกติก็ตามทันตแพทย์ก็ยังอาจแนะนำให้ทำการถอนออกไป ถ้าเล็งเห็นว่าฟันซี่นั้นไม่มีประโยชน์ อาจมีผลกระทบต่อการบดเคี้ยวและฟันซี่ข้างเคียง หรือมีความเป็นไปได้ที่จะเป็นสาเหตุก่อให้เกิดโรคเหงือกหรือการอักเสบบริเวณนั้นได้ เนื่องจากการดูแลรักษาความสะอาดบริเวณด้านในสุดของช่องปากนั้นมีความยากลำบาก ซึ่งเป็นสาเหตุทำให้ฟันกรามซี่หลังนั้นสามารถผุได้ง่าย รวมถึงการอักเสบของเหงือกอีกด้วย อย่างไรก็ตามทันตแพทย์จะพิจารณาอาการและปัญหาพร้อมวิธีการแก้ปัญหาที่แตกต่างกันไปของผู้เข้ารับบริการแต่ละบุคคล

บทความอื่นที่เกี่ยวข้อง: ฟันคุดแบบไหนไม่ต้องผ่า รักษารากฟัน

Report this page